วันเสาร์ที่ 21 พฤศจิกายน พ.ศ. 2563

บันทึกการเรียนรู้ครั้งที่12

    EAED2102 การจัดกิจกรรมทางวิทยาศสตร์และคณิตศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัย 

วันอังคารที่ 17 เดือนพฤศจิกายน 2563

เวลา 08:30 - 12:30

เนื้อหาที่เรียน💬

วันนี้เป็นการเรียนการสอนวันสุดท้ายอาจารย์ให้คิดเมนูอาหารที่ทำโดยไม่ใช้ไฟฟ้าและประยุกต์ให้สวยงามหน้ากิน โดยทำเป็นกลุ่มอาจารย์ให้งบกลุ่มละ300โดยข้อตกลงคือให้ใช้ให้หมด กลุ่มเราได้ทำแซนวิช

โดยอาจารย์ให้ทำงานเป็นลำดับขั้นตอน 

1.เขียนหรือวาดแบบที่เราต้องการ                  


2.เขียนรายการวัถุดิบ

3.ออกไปซื้อของมาทำ

4.เริ่มทำ






โดยมีขั้นตอนการทำดังนี้

1.ล้างมือ

2.เตรียมวัถุดิบ

3.นำแผ่นขนมปัง1แผ่นวางไว้แล้วนำใส้ตามที่เราต้องการใส่ลงไปแล้วนำแก้วคว่ำลงเพื่อที่จะได้รูปร่างตามที่ต้องการ

คลิปวิดีโอการทำ


เมื่อทำเสร็จอาจารย์จะถามแต่ละกลุ่มว่า มีความเกี่ยวข้องทางด้านใดกับวิทยาศาสตร์และคณิตศาสตร์อย่างไร?









บันทึกการเรียนรู้ครั้งที่11

              EAED2102 การจัดกิจกรรมทางวิทยาศสตร์และคณิตศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัย 

วันอังคารที่ 10 เดือนพฤศจิกายน 2563

เวลา 08:30 - 12:30

เนื้อหาที่เรียน💬

ส่ง Mind map เทคนิคการสอนวิทยาศาสตร์


 










อาจารย์ได้เปิดคลิปวิดีโอบ้านหนูน้อยวิทยาศาสตร์ ให้ดู



 

                                                                    


วันเสาร์ที่ 7 พฤศจิกายน พ.ศ. 2563

บันทึกการเรียนรู้ครั้งที่10

                          

                         EAED2102 การจัดกิจกรรมทางวิทยาศสตร์และคณิตศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัย 

วันอังคารที่ 2 เดือนพฤศจิกายน 2563

เวลา 08:30 - 12:30

เนื้อหาที่เรียน💬

วันนี้อาจารย์ให้นักศึกษาดูคลิปเกี่ยวกับการเล่านิทานและการสร้างสรรค์ผลงานให้สอดคล้องกับเนื้อหานิทานที่อ่าน

1.ให้นักศึกษาค้นคว้าหานิทานที่ห้องสมุด ให้เลือกนิทานเล่มที่น่าสนใจ



2.ทำงานเป็นคู่

ที่พวกเราเลือกเรื่องนี้ เพราะ มันมีประโยชน์ต่อเด็กๆในเรื่องสอนให้เด็กๆกินผักผลไม้ 

3.เริ่มทำงาน 

โดยทำงานที่ห้องสมุด ใช้คอมพิวเตอร์ที่ห้องสมุดให้ส่งงานเป็นไฟล์ PDF และไฟล์ธรรมดา ส่งงานได้ช้าสุดไม่เกิน 19:00 น.

4.พอทำงานเสร็จ อาจารย์ก็สั่งการบ้านให้ไปทำแผนผังเรื่อง เทคนิคการสอนวิทยาศาตร์ 


บันทึกการเรียนรู้ครั้งที่9

  EAED2102 การจัดกิจกรรมทางวิทยาศสตร์และคณิตศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัย 

วันอังคารที่ 26 เดือนตุลาคม 2563

เวลา 08:30 - 12:30

เนื้อหาที่เรียน😚

 วันนี้อาจารย์ให้แบ่งกลุ่มทำงาน 4-5 คน โดยงานที่ได้รับมอบหมาย คือ 

1.ให้วาดรูปแหล่งน้ำ หรือแม่น้ำที่สำคัญ โดยไม่ต้องระบุชื่อของแหล่งน้ำหรือแม่น้ำที่วาด

2.เมื่อวาดเสร็จให้เพื่อนๆทายว่าเป็นแหล่งน้ำหรือแม่น้ำอะไร 

กิจกรรมที่1


 ส่วนประกอบของแหล่งน้ำ
 1.ต้นไม้ 
 2.สัตว์ป่าที่ดุร้าย
 3.สายน้ำืี่ทอดยาว
 4.หญ้า

       กิจกรรมที่2
 ให้นักศึกษาสร้างลำธารของน้ำ โดยจำลองจากการนำหลอดมาต่อกํนหรือสร้างรูปร่างให้คล้ายกับลำธารที่สุด โดยน้ำที่ไหลลงนั้นจะจำลองโดยดินน้ำมัน โดยจะให้ใช้หลอดไม่เกิน25อัน


 พอสร้างเสร็จแล้วก็นำลำธารของแต่ละกลุ่มมาแข่งกันโดยมีกฎกติกาว่า น้ำน้ำมันกลุ่มไหนตกลงพื้นช้าที่สุดกลุ่มนั้นชนะ โดยวัดจากการจับเวลา กลุ่มของพวกเราได้ 5นาที จุด 65 วินาที ได้ลำดับที่2 ของการแข่งขัน 

     
   กิจกรรมที่3
 อาจารย์แจกกระดาษคนละแผ่นเผื่อพับเป็นดอกไม้ พอผับเสร็จก็นำเมจิมาระบายให้เกิดสีสันสวยงาม แล้วนำดอกไม้ของกลุ่มตัวเองไปใส่ในน้ำที่เตรียมมา จำลองเหตุการณ์เป็นดอกไม้ที่ลอยในลำธาร


เกี่ยวข้องกับวิทยาศาสตร์เรื่องการระเหย เรื่องของสี คือเมื่อสีถูกกับน้ำก็จะละลายรวมกันเป็ฯสีใหม่
เกี่ยวข้องกับคณิตศาสตร์เรื่องของจำนวน คือจำนวนของดอกไม้ทั้งหมด เวลา คือเวลาที่สามารถลอยน้ำได้นานที่สุด 


คำศัพท์ภาษาอังกฤษ

1. Water resources = แหล่งน้ำ

2. Ship = เรือ

3. Bridge = สะพาน

4. Design = ออกแบบ

5. Tube = หลอด







บันทึกการเรียนรู้ครั้งที่8

  EAED2102 การจัดกิจกรรมทางวิทยาศสตร์และคณิตศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัย 

วันอังคารที่ 6 เดือนตุลาคม 2563

เวลา 08:30 - 12:30

เนื้อหาที่เรียน☀☁☁



  อากาศ หมายถึง ส่วนผสมของก๊าซต่าง ๆ  และไอน้ำ ได้แก่  ก๊าซไนโตรเจน และก๊าซออกซิเจน  และก๊าซอื่น ๆ  แต่มีอยู่ในปริมาณน้อย  อากาศมีอยู่รอบ ๆ ตัวเรา ทุกหนทุกแห่ง  อากาศไม่มีสี  ไม่มีรสชาติ และไม่มีกลิ่น เราสามารถรู้ว่ามีอากาศอยู่รอบๆตัวเราได้โดยโบกมือไปมา กระแสลมที่เกิดขึ้นและปะทะกับฝ่ามือของเรา ก็แสดงว่าอากาศมีจริง หรือถ้าเรายืนอยู่ในที่ที่มีลมพัดผ่าน เราจะรู้สึกว่ามีอากาศหรือลมพัดมาถูกตัวเรา


คำศัพท์ภาษาอังกฤษ

1. Wind =  ลม

2. Pressure = แรงดัน

3. Dynamic = เคลื่อนที่

4. Power = พลัง

5.Experiment = ทดลอง

บันทึกการเรียนรูัครั้งที่7

                        EAED2102 การจัดกิจกรรมทางวิทยาศสตร์และคณิตศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัย 

วันอังคารที่ 22 เดือนกันยายน 2563

เวลา 08:30 - 12:30

เนื้อหาที่เรียน📏📐📘




คุณสมบัติหรือทักษะที่สำคัญ คือ 3R ละ 8C 

        3R คือ 

Reading-อ่านออก

(W)Riting-เขียนได้

(A)Rithmatic-มีทักษะในการคำนวณ


       8C คือ

  •  Critical Thinking and Problem Solving : มีทักษะในการคิดวิเคราะห์ การคิดอย่างมีวิจารณญาณ และแก้ไขปัญหาได้

  •  Creativity and Innovation : คิดอย่างสร้างสรรค์ คิดเชิงนวัตกรรม

  •  Collaboration Teamwork and Leadership : ความร่วมมือ การทำงานเป็นทีม และภาวะผู้นำ

  •  Communication Information and Media Literac

  • y : ทักษะในการสื่อสาร และการรู้เท่าทันสื่อ

  •  Cross-cultural Understanding : ความเข้าใจความแตกต่างทางวัฒนธรรม กระบวนการคิดข้ามวัฒนธรรม

  •  Computing and ICT Literacy : ทักษะการใช้คอมพิวเตอร์ และการรู้เท่าทันเทคโนโลยี ซึ่งเยาวชนในยุคปัจจุบันมีความสามารถด้านคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีอย่างมากหรือเป็น Native Digital ส่วนคนรุ่นเก่าหรือผู้สูงอายุเปรียบเสมือนเป็น Immigrant Digital แต่เราต้องไม่อายที่จะเรียนรู้แม้ว่าจะสูงอายุแล้วก็ตาม

  •  Career and Learning Skills : ทักษะทางอาชีพ และการเรียนรู้

  •  Compassion : มีคุณธรรม มีเมตตา กรุณา มีระเบียบวินัย ซึ่งเป็นคุณลักษณะพื้นฐานสำคัญของทักษะขั้นต้นทั้งหมด และเป็นคุณลักษณะที่เด็กไทยจำเป็นต้องมี

ความสำคัญของวิทยาศาสตร์
มีบทบาทอย่างยิ่งในการดำรงชีวิตของมนุษย์ เป็นกระบวนการสำคัญที่จะทำให้พัฒนาวิธีคิดคิดอย่างมีเหตุมีผล คิดสร้างสรรค์ คิดวิเคราะห์ มีทักษะในการค้นหาความรู้ มีความสามารถในการแก้ปัญหาอย่างเป็นระบบ สามารถตัดสินใจโดยใช้ข้อมูลที่หลากหลาย

ประโยชน์ของวิทยาศาสตร์

1.ช่วยให้เด็กเป็นคนช่างสังเกตจากประสบการณ์ที่เด็กได้ลงมือปฎิบัติด้วยต้นเอง
2.ช่วยให้เด็กมีประสบการณ์ทางวิทยาศาสตร์
3.ช่วยให้เด็กรู้จักประโยชน์และคุณค่าของสิ่งแวดล้อม
4.ช่วยให้เด็กใช้เวลาว่างอย่างมีคุณค่า
5.ช่วยให้เด็กมีอิสระในความคิด
6.ช่วยให้เด็กเป็นนักคิด นักค้นคร้า ทดลอง เพื่อส่งเสริมให้เด็กสัมผัสและปฎิบัติด้วยตนเอง


บันทึกการเรียนรู้ครั้งที่6

 บันทึกการเรียนรู้ครั้งที่6

                 EAED2102 การจัดกิจกรรมทางวิทยาศสตร์และคณิตศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัย 

วันอังคารที่ 8 เดือนกันยายน 2563

เวลา 08:30 - 12:30

เนื้อหาที่เรียน 📝

สาระที่3 เรขาคณิต รูปร่าง รูปทรง ข้างบน ข้างล่าง ข้างซ้าย ข้างขวา ไกลใกล้ เป็นการบอกตำแหน่งทิศทางของสิ่งต่างๆรอบตัวเรา หรือแม้กระทั่งระยะห่างของสิ่งของ การจำแนกสิ่งของที่เหมือนและต่างกัน บอกถึงรูปทรงสี่เหลี่ยม สามเหลี่ยม วงกลม วงรี และอีกมากมาย  

  รูปร่าง( Shape)  หมายถึง การนำเส้นมาประกอบกันให้เกิดความกว้างความยาว ไม่มีความหนาหรือความลึก

รูปทรง (Form) หมายถึง การนำเส้นมาประกอบกันให้เกิดความก้าง ความยาว และความหน้าหรือความลึก


อาจารย์ได้ให้ทำกิจกรรมสร้างรูปเรขาคณิตจากไม้ที่เป็นชิ้นเล็กๆและมีตัวเชื่อมไม้เข้าหากันคือดินน้ำมัน









สาระที่4 พืชคณิต เป็นความสัมพันธ์ที่แสดงถึงลักษณะสำคัญร่วมของชุดจำนวนรูปเรขาคณิตต่างๆ

สาระที่5 การวิเคราะห์ข้อมูลและความน่าจะเป็น การเก็บรวบรวมข้อมูลอาจใช้วิธีสังเกตหรือสอบถาม

สาระที่6 ทักษะกระบวนการคณิตศาสตร์


คำศัพท์ภาษาอังกฤษในวันนี้

1. Distance = ระยะทาง

2. Position = ตำแหน่ง

3. Direction =  ทิศทาง

4. Geometry = เรขาคณิต

5. Shape = รูปทรง

 

วันจันทร์ที่ 21 กันยายน พ.ศ. 2563

บันทึการเรียนรู้ครั้งที่5

 

    EAED2102 การจัดกิจกรรมทางวิทยาศสตร์และคณิตศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัย 

วันอังคารที่ 1 เดือนกันยายน 2563

เวลา 08:30 - 12:30


 เนื้อหาที่เรียน💬💬

วันนี้อาจารย์ได้ให้เพื่อนนำเสนองาน3คนหน้าชั้นเรียนและสอนเกี่ยวกับความคิดสร้างสรรค์หรือความคิดตามจินตนาการของตัวเองโดยอาจารย์จะแจกกระดาษให้คนละแผ่นเพื่อสร้างสรรค์ชิ้นงานของแต่ละคนออกมา โดยให้ออกแบบชื่อเล่นของตัวเองตามใจชอบ และเมื่อออกแบบชื่อตัวเองเสร็จแล้ว อาจารย์ได้ให้คิดสื่อการเรียนที่เกี่ยวกับคณิตศาสตร์โดยให้วาดแผนลงในกระดาษ เอ4 แล้วออกมานำเสนองานให้อาจารย์และเพื่อนๆฟัง

อาจารย์ได้พาเอาสู่เนื้อหาการเรียนโดยเริ่มจากสาระสำคัญของคณิตศาสตร์เพื่อปลูกฝังฝห้แก่เด็กโดยเริ่มจากสิ่งรอบตัวของเด็ก 

เพลงเกี่ยวกับคณิตศาสตร์

1ปีนั้นมี12เดือน อย่าลืมเลือนจำไว้ให้มั่น 

1สัปดาห์นั้นมี7วัน * อาทิตย์ จันทร์ อังคาร พุธ พฤหัส ศุกร์ เสาร์

บันทึกการเรียนรู้ครั้งที่4


    EAED2102 การจัดกิจกรรมทางวิทยาศสตร์และคณิตศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัย 

วันอังคารที่ 25 เดือนสิงหาคม 2563

เวลา 08:30 - 12:30


 เนื้อหาที่เรียน💭💭

วันนี้อาจารย์ได้สอนเกี่ยวกับพฤติกรรม








การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมมีหลายวิธีทั้งการจัดสภาพแวดล้อมภายในห้องเรียน การเสริมแรงตามหลักทฤษฎีการวางเงื่อนไขแบบการกระทํา การลงโทษ การจัดประสบการณ์ต่างๆ รวมถึงตัวครู เองด้วยที่มีบทบาทในการเปลี่นแบบอย่างที่ดีในการใช้กิริยาท่าทาง การใช้คําพูดของครูครูสามารถ ใช้วิธีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมเหล่านี้กับเด็กเพื่อเปลี่นการปรับพฤติกรรมของเด็กให้มีพฤติกรรมที่ พึงประสงค์ถูกต้องเหมาะสมและสอดคลล้องกับวัย เปลี่นที่ยอมรับของสังคม เด็กจะเติบโตเปลี่นผู้ใหญ่ที่ดี เด็กปฐมวัยเปลี่นวัยแห่งการเรียนรู้สิ่งต่างๆ ได้รวดเร็ว ดังนั้นจึงเหมาะสมที่จะมีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม ในวัยนี้เพราะจะปรับพฤติกรรมได้ง่ายกว่าวัยอื่นๆ

การเรียนแปลงพฤติกรรม เปลี่ยนแปลงเพื่อการดำเนินชีวิตให้อยู่รอด 

ทฤษฎีการเรียนรู้เด็กปฐมวัย 


                            1. ทฤษฎีการเรียนรู้ของบรูเนอร์ (Jerome S. Bruner)

                            2. ทฤษฎีการเรียนรู้ทางสังคม (Social Learning Theory) ของแบนดูรา      

                            3. ทฤษฎีพัฒนาการของกีเซล (Gesell)

                            4. ทฤษฎีพัฒนาการทางจริยธรรมของโคลเบอร์ก (Lawrence Kohlberg)

                            5. ทฤษฎีพัฒนาการทางบุคลิกภาพของซิกมันต์ ฟรอยด์ (Sigmund Freud)

                            6. ทฤษฎีพัฒนาการทางบุคลิกภาพของอิริคสัน (Erikson)

                            7. ทฤษฎีพัฒนาการทางสติปัญญาของเพียเจต์ (Piaget)

                            8. ทฤษฎีพัฒนาการทางสติปัญญาของโฮเวิร์ด การ์ดเนอร์ (Howard Gardner’s View)


เพลงเกี่ยวกับคณิตศาสตร์ 🎼🎤

บ้านฉันมีแก้วน้ำ ____ ใบ

เพื่อนให้อีก____ในนะเธอ 

มารวมกันนับดีดีสิเออ 

ดูสิเธอมีแก้วน้ำกี่ใบ 



วันพุธที่ 19 สิงหาคม พ.ศ. 2563

บันทึกการเรียนรู้ครั้งที่3


  EAED2102 การจัดกิจกรรมทางวิทยาศสตร์และคณิตศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัย 

วันอังคารที่ 8 เดือนสิงหาคม 2563

เวลา 08:30 - 12:30


 

เนื้อหาที่เรียน

 วันนี้พูดถึงเด็กปฐมวัยและการเรียนรู้ของเด็กว่าวัยนี้เหมาะสำหรับจะเรียนวิทยาศาสตร์และคณิตศาสตร์หรือไม่?

โดยอาจารย์จะมีหัวข้อคำถามมาให้เพื่อให้นักศึกษาตอบ

คำถามที่1 วิทยาศาสตร์และคณิตศาสตร์เป็นยาขมของเด็กปฐมวัยหรือไม่? 

คำถามนี้สามารถตอบได้สองอย่างคือ เป็นถ้าครูจัดการเรียนการสอนไม่สอดคล้องต่อพัฒนาการของเด็ก , ไม่เป็นถ้าครูจัดการเรียนการสอนให้สอดคล้องกับพัฒนาการของเด็กปฐมวัยทำให้เด็กอยากเรียนรู้

คำถามที่2ถ้าเด็กๆเรียนวิทยาศาสตร์และคณิตศาสตร์ตั้งแต่อนุบาลมันจะยากเกินไปไหม? 

คำตอบคือ ไม่ยากจนเกินไปเพราะครูผู้สอนได้จัดการเรียนการสอนให้สอดคล้องกับพัฒนาการของเด็กในแต่ละช่วงวัยพร้อมกับยกตัวอย่างสิ่งรอบตัวที่ทำให้เด็กมองเห็นภาพได้

คำถามที่3ควรให้เด็กๆอนุบาลเรียนรู้วิทยาศาสตร์และคณิตศาสตร์ด้วยวิธีใด? 

คำตอบคือ ควรจัดการสอนที่เด็กต้องเจอในชีวิตจริงและยกตัวเองสิ่งรอบตัวของเด็กๆเพื่อให้เด็กได้มองเห็นภาพเด็กจะได้สนุกกับการเรียนและมีความสุขกับการได้ตอบคำถาม

อาจารย์ได้มอบหมายงานให้นักศึกษาก่อนเรียนในเนื้อหาว่านักศึกษาเข้าใจถึงการจัดประสบการณ์เกี่ยวกับวิทยาศาสตร์และคณิตศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัยมากน้อยเพียงใคโดยให้สรุปความคิดออกเป็นมายแมพ


                


บันทึกการเรียนรู้ครั้งที่2


   EAED2102 การจัดกิจกรรมทางวิทยาศสตร์และคณิตศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัย 

วันอังคารที่ 11 เดือนสิงหาคม 2563

เวลา 08:30 - 12:30


เนื้อหาที่เรียน

 เป็นสัปดาห์ที่2ของการเรียนอาจารย์ได้ติดภาระกิจที่มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์แต่อาจารย์ได้มอบหมายงานไว้ให้ทำให้สรุปบทความวิทยาศาสตร์และคณิตศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัย,สรุปงานวิจัยวิทยาศาสตร์และคณิตศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัย,สรุปคลิปวิดีโอการสอนวิทยาศาสตร์และคณิตศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัย ทั้งงานบทความ,งานวิจัย,และคลิปตัวอย่างการสอนอาจารย์ได้ให้นักศึกษาหาไว้ตั้งแต่สัปดาห์แรกห้ามซ้ำกับเพื่อน 

บันทึกการเรียนรู้ครั้งที่1


   EAED2102 การจัดกิจกรรมทางวิทยาศสตร์และคณิตศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัย 

วันอังคารที่ 4 เดือนสิงหาคม 2563

เวลา 08:30 - 12:30

เนื้อหาที่เรียน

 เป็นการเรียนการสอนวันแรกและเป็นวันแรกที่นักศึกษาและอาจารย์ได้พบกันโดยอาจารย์แจกกระดาษให้นักศึกษาคนละแผ่นและให้หัวข้อกับนักศึกษาว่า “ให้บรรยายถึงลักษณะเด่นของตัวเองที่มองแว๊บแรกก็รู้เลยว่าเป็นเรา” พอนักศึกษาเขียนเสร็จอาจารย์ก็เก็บกระดาษและได้อ่านของเพื่อนๆและให้เพื่อนๆทายว่าเป็นใคร หลังจากทายจนครบ28คนแล้ว อาจารย์ก็ได้พูดถึงเนื้อหาของการเรียน วัตถุประสงค์ของการเรียนและบทนำของการเรียน หลังจากนั้นอาจารย์ก็ได้ให้นักศึกษาทำมายแมพ


                                         





วันจันทร์ที่ 10 สิงหาคม พ.ศ. 2563

สรุปกิจกรรมการจัดประสบการณ์ทักษะด้านวิทยาศาสตร์

 กิจกรรมวิทยาศาสตร์

เด็กๆได้ทำการมกลองวิทยาศาสตร์โดยการลงมือสัมผัสทำให้เด็กๆได้สัมผัสกับวัสดุที่แท้จริง โดยนำเอาขวดน้ำที่ใช่แล้วมาตัดท้ายขวดออกแล้วนำมาจุ่มสีที่คุณครูได้นำมาวางไว้ให้ สีที่ครูนำมาครูจะผสมให้เกิดฟองก่อน แล้วเด็กๆก็นำฝาขวดที่ครูตัดให้มาจุ่มกับสีที่คุณครูได้จัดเตรียมไว้ให้ จากนั้นเด็กๆก็ลงมือเป่าสีใส่พื้นที่ครูเตรียมไว้ให้ ทำให้เด็กๆเกิดการเรียนรู้ของสี และเด็กๆได้เข้าร่วมสังคมกับเพื่อนๆ เมื่อเป่าฟองเสร็จให้เด็กๆสังเหตฟองของตัวเองว่ามีลักษณะอย่างไร? ให้เด็กๆนำมาวาดใส่กระดาษเอ4ที่คุณครูจัดเตรียมไว้ให้ และยังมีอีกหลายกิจกรมม